$endsection URU Research

รายงานวิจัย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
2552
โครงการวิจัยกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรม ในเขตตําบลฝายหลวง อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
การศึกษาเรืองกลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรมในเขตตําบล ฝายหลวง อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาศักยภาพการท่องเทียว เพือให้ ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานการส่งเสริมการตลาดการท่องเทียวในเขตตําบลฝาย หลวง อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นการวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเข้า ด้วยกัน เครืองมือทีใช้คือแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่าในเขตตําบลฝายหลวงมีสถานทีท่องเทียวทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุทีจะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทียวจํานวน แห่ง ส่วนใหญ่มีศักยภาพอยู่ใน ระดับปานกลาง เมือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าด้านทีเกียวกับความสําคัญของโบราณสถานมี ความสําคัญมาก ส่วนข้อทีมีศักยภาพค่อนข้างน้อยคือด้านทีเกียวกับสิงอํานวยความสะดวกสําหรับ นักท่องเทียวและการประชาสัมพันธ์ แสดงให้เห็นว่าโดยสภาพและความสําคัญของตัว โบราณสถาน รวมทังประเพณีวัฒนธรรม หรือวันสําคัญในท้องถินทีเกียวข้องกับโบราณสถานนัน สามารถทีจะนํามาใช้เป็นจุดขายสําหรับการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรมได้ ผลการวิเคราะห์การประเมินความต้องการของนักท่องเทียวพบว่า ผู้มาเทียวส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ วัตถุประสงค์เดินทางมาเพือมาทัศนศึกษา เดินทางเข้ามา - ครัง/ปี ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตําบลฝายหลวงจะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทียว มีความต้องการด้านโครงสร้าง พืนฐานในระดับมากทีสุดทุกปัจจัย ความต้องการด้านกิจกรรมในแหล่งท่องเทียวส่วนใหญ่มีความ ต้องการระดับมาก ยกเว้นการพักค้างคืนกับชุมชน (Home stay) และคุณภาพของผู้นําเทียวพูดภาษ ต่างประเทศมีความต้องการระดับปานกลาง ศักยภาพการตลาดการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรมในเขต ตําบลฝายหลวง พบว่าทรัพยากรการท่องเทียวทางด้านวัตถุ ศิลปวัฒนธรรมจัดว่ามีคุณค่าและมี ศักยภาพ แต่ยังขาดการเชือมโยงคุณค่าเหล่านีกับกิจกรรมส่วนอืนๆ ทีเกียวข้อง กลยุทธ์การตลาดที นํามาใช้คือ การรวมกลุ่มแบบภาคี คือร่วมมือกับองค์กรทุกฝ่ายทีเกียวข้อง การเข้าถึงลูกค้าเป็น รายบุคคลโดยตรง และการจัดโปรแกรมการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรม ซึงจะต้องอาศัยการจัดการโดย ท้องถิน และการจัดการเชิงธุรกิจอย่างจริงจังและต่อเนือง ในเขตพืนทีตําบลฝายหลวงควรมีบุคคล หรือหน่วยรับผิดชอบด้านการท่องเทียวเชิงวัฒนธรรมโดยตรง จัดกิจกรรม หรืองานประเพณี และ ส่งเสริมผู้ประกอบการในชุมชน เพือให้คนต่างถินได้รู้จัก ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรการ ท่องเทียวเหล่านันให้คงอยู่ เพือส่งเสริมให้เกิดการท่องเทียวในท้องถินอย่างยังยืนตลอดไป