$endsection URU Research

รายงานวิจัย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
2560
การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะคน 3 วัย กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วน ตำบลแดนชุมพล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพ/ สถานการณ์กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ สามารถสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาวะของ คน 3 วัย ในชุมชนแดนจุมพล อ าเภอสอง จังหวัดแพร่ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ขององค์กรชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อ สร้างเสริมสุขภาวะคน 3 วัย ให้เกิดความยั่งยืน และเพื่อสังเคราะห์รูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ สามารถสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาวะที่เหมาะสมกับคน 3 วัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นกลุ่ม ผู้น าชุมชนอย่างเป็นทางการ อาทิก านันและผู้ใหญ่บ้าน และกลุ่มผู้มีความรู้ของชุมชน และผู้มี ส่วนร่วมในการจัดการกิจกรรมของคน 3 วัย เด็กและเยาวชน คนวัยท างาน และคนวัยชรา ที่ อาศัยอยู่ในชุมชนแดนจุมพล อ าเภอสอง จังหวัดแพร่ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) โดยใช้หลักการ ร่วมใจ ร่วมคิด ร่วม ปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์ / รับผิด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ชุมชน 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถานที่วิจัยในครั้งนี้คือ ชุมชน แดนจุมพล อ าเภอสอง จังหวัดแพร่ จากการลงพื้นที่สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างแลสังเกตุการเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มตัวอย่าง ต าบลแดนชุมพลพบว่า มีกิจกรรมสร้างสรรค์ คือกิจกรรมร ากลองยาวและกิจกรรมเพื่อนช่วย เพื่อน โดย สมาชิกกลุ่มร ากลองยางของกลุ่มผู้สูงอายุจะมีการร ากลองยาวก่อนรับเบี้ยผู้สูงอายุเมื่อ รับเบี้ยผู้สูงอายุแล้วได้มีการบริจาคเงินคนละ10 บาทเพื่อนน าไปซื้อของเยี่ยมเพื่อนสมาชิกที่ไม่ สามารถไปไหนมาไหนได้ด้วยตนเองแล้ว จะเห็นได้ว่ารูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์ที่สร้างเสริมสุข ภาวะนั้น ไม่ใช่การท ากิจกรรมที่มุ่งแต่การส่งเสริมสุขภาพทางกายให้ห่างไกลจากการเจ็บป่วยหรือ ลดจากอาการเจ็บป่วยที่เป็นอยู่แล้วเท่านั้น แต่เป็นการด าเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและสังคม เมื่อมีการเสริมสร้างจิตใจให้ดีแล้ว ร่างกาย สติปัญญาและ สังคมก็จะดีตามมาด้วย
การพัฒนารูปแบบ