ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององค์การบริหารส่วน ต.ดงมะไฟ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร
Peoples Participation in Solid Waste Management of Muang Mafai Subdistrict Administrative Organization, Mueang Sakon Nakhon District Sakon Nakhon

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารยสุธาสินี ครุฑธกะ
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการในการจัดการและคัดแยกขยะเพื่อท าปุ๋ยหมักของชุมชนบ้านหนองไผ่ ในเขตองค์การบริหารส่วนต าบลดงมะไฟ อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 2. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนในพื้นที่ชุมชน บ้านหนองไผ่ ในเขตองค์การบริหารส่วนตา บลดงมะไฟ อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
คำสำคัญ
ปุ๋ยหมัก หมายถึง ปุ๋ยที่ได้จากการหมักสารอินทรีย์ให้สลายตัวผุพังตามธรรมชาติ โดยน าสิ่ง เหล่านั้นมากองรวมกัน รดน้ าให้ชื้น แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เกิดการย่อยสลายตัวโดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ จึงน าไปใช้ปรับปรุงดิน ในการเตรียมกองปุ๋ยหมัก อาจใส่จุลินทรีย์ที่เตรียมไว้โดยกรมวิชาการเกษตร (พด.2)เพื่อช่วยเร่งกิจกรรมของจุลินทรีย์ให้เร็วขึ้น เป็นการเพิ่มคุณค่าด้านธาตุอาหารของปุ๋ยหมัก ,ประชาชน หมายถึง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนในเขตเขตองค์การบริหารส่วน ตา บลดงมะไฟ อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ,การจัดการขยะ หมายถึง การจัดการเชิงองค์รวมซึ่งครอบคลุมการจัดการขยะทั้งหมด เช่น ขยะ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ พืชผัก พลาสติก โลหะต่างๆ ใบไม้ กรวด เศษอิฐ ทราย เศษแก้ว ขวด เศษไม้ กระป๋องเศษเหล็กและสารเคมีที่เป็นอันตรายเป็นต้น รวมถึงการจัดการขยะ ณ แหล่งก าเนิดเป็นวิธีที่เริ่มต้นจากประชาชน เป็นการจัดการขยะที่ท าได้ง่าย สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย เป็นวิธีการลดปริมาณขยะที่ดีที่สุด และเป็นวิธีที่ต้องการความร่วมมือจาก ประชาชนมากที่สุด ,ขยะ หมายถึง สิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว หรือที่เหลือจากการใช้แล้วทิ้ง เช่น เศษกระดาษ เศษอาหาร เศษผ้า เศษโลหะ โฟมใส่อาหาร ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร ฝุ่นละออง เถ้า และของเสียอันตราย
บทคัดย่อย
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจัดการมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนต าบลดงมะไฟ อ าเภอเมืองสกลนคร จังหวัด สกลนคร งานวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ การลดปริมาณขยะ การน าขยะกลับมา ใช้ใหม่ และการคัดแยกขยะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยมีจ านวน 290 คน จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปในการค านวณหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่าคะแนนด้านการลดการเกิดขยะมูลฝอยอยู่ในระดับมาก ( x̄ = 2.55, S.D. = 1.06) พฤติกรรมที่มีมากที่สุดคือเลือกใช้ถุงพลาสติกใส่สิ่งของใบใหญ่ใบเดียวมากกว่าใบเล็กหลายๆใบ และ พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยคือ ท่านเลือกซื้อสินค้าที่ไม่ก่อให้เกิดขยะมากเกินความจ าเป็นด้านการน า กลับมาใช้ใหม่อยู่ในระดับมาก(x̄ =2.55, S.D. = 1.01) พฤติกรรมที่มีมากที่สุดคือมักจะใช้วัสดุที่ สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ และพฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยคือ วัสดุประเภทไม้ท่านน ากลับมาใช้งานได้ อีก ด้านการคัดแยกขยะอยู่ในระดับมากมาก (x̄ =2.42, S.D. = 1.03) พฤติกรรมที่มีมากคือ มีการคัด แยกขยะประเภทแบตเตอรี่โทรศัพท์ก่อนทิ้งลงในถังขยะ และพฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยคือ มีการคัดแยก ขยะประเภทวัสดุพลาสติกก่อนทิ้งลงในถังขยะและระดับพฤติกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =2.50, S.D.= 1.03) ประชาชนมีพฤติกรรมในการจัดการขยะ
เอกสารงานวิจัย
  1. ปก-รายงาน

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ