$endsection URU Research

รายงานวิจัย

สุขภาพและสวัสดิการ
แหล่งทุนองค์ภายนอกอื่นๆ
2558
รูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
Health management styles seniors community cooperative with local administrative organization and the parties to the network. TAT tabon nanoi nan Province.
ศูนย์สุขภาวะ ตามค้านิยามตาม ทันตแพทย์กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการอ้านวยการโครงการศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ผู้จัดการส้านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวว่า "ที่แห่งนี จะเป็นศูนย์กลางของคนรักสุขภาพ เป็นต้นแบบของบุคคล องค์กร ชุมชน ที่ต้องการเห็นความเปลี่ยนแปลงในสังคมและลุกขึ นมาสร้างความเปลี่ยนแปลงนั น เริ่มต้นจากการสร้างแรงบันดาลใจ เริ่มจากความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงสังคม มองเห็นว่าความสุขเริ่มจากคนและวิธีคิดของคน ไม่ใช่รอผู้ใดน้ามาให้" (ออนไลน์) ดังจะกล่าวได้ว่าศูนย์สุขภาวะเป็นทั งแหล่งการเรียนรู้และการถ่ายทอดความรู้ จึงเป็นสถานที่ส้าคัญในการเป็นแหล่งสร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุ ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุและถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุ และประสบการณ์ของผู้สูงอายุอย่างเข้มแข็ง จากการส้ารวจข้อมูลเบื องต้นขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้าตก อ้าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน พบว่า บริบทการจัดการสุขภาวะของผู้สูงวัยของในพื นมีทั งความโดดเด่นและแตกต่างซ่อนอยู่ในพื นที่ ทั งการบริหารจัดการของพื นที่ ตั งแต่การมีเป้าหมายในการพัฒนา การบริหารทรัพยากร การประสานงานเครือข่าย และการแบ่งงานตามบทบาทโครงสร้างของการจัดการสุขภาวะของผู้สูงวัยตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งยกระดับสุขภาวะของผู้สูงวัย การขับเคลื่อนการท้างานในพื นที่จึงยังขาดแนวทางการจัดการในการที่เป็นมุ่งจัดการในพื นที่ร่วมกันของภาคีเครือข่าย ขาดการบริหารทรัพยากรที่ท้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ขาดการประสานงานเครือข่ายและการแบ่งงานตามบทบาทตามโครงสร้าง ซึ่งทั งนี เป็นไปตามปัจจัยภายในและภายนอกในการสนับสนุนการขับเคลื่อนของงานสุขภาวะผู้สูงวัย ทั งบริบทพื นที่ ศักยภาพของชุมชน การจัดการด้านความรู้ การจัดการองค์กร ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมไปถึงการจัดตั งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มพัฒนาอาชีพของผู้สูงวัยของแต่ละพื นที่ จากความแตกต่างนี เป็นผลสะท้อนให้เห็นช่องว่างในกระบวนการขับเคลื่อนกลไกในการท้างาน และรูปแบบในการจัดการด้านสุขภาวะขาดหายไป จึงท้าให้การด้าเนินงานของด้านสุขภาวะของผู้สูงวัยในพื นที่ยังไม่เข้มแข็งและประสบผลในการด้าเนินงาน ดังนั นคณะผู้วิจัยจึงสนใจจะศึกษางานวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนต้าบลน้าตก อ้าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เพื่อจะน้าไปสู่การจัดการของศูนย์สุขภาวะของผู้สูงอายุที่เข้มแข็งและเป็นต้นแบบที่ยั่งยืนในอนาคตต่อไป
สุขภาวะ