ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง รูปแบบการแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควัน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
Patterns of Resolve a Problem and Surveillance of smog pollution and health impact to Community Participation in Nong Bua Sub-district, Chai Prakan District, Chiang Mai Province

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : อาจารย์ ดร.ชัดนารี มีสุขโข
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษารูปแบบการแก้ไขปัญหาหมอกควัน โดยกระบวนมีส่วนร่วมของชุมชน ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อส่งเสริมกระบวนการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยกระบวนมีส่วน ร่วมของชุมชน ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อสร้างศักยภาพแกนนาในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหา หมอกควันในชุมชน
คำสำคัญ
-
บทคัดย่อย
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษารูปแบบการแก้ไขปัญหาหมอกควัน โดยกระบวนมีส่วนร่วม ของชุมชน เพื่อส่งเสริมการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และเพื่อสร้างศักยภาพแกน นาในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัญหาหมอกควันในชุมชน ในพื้นที่ตาบล หนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดย การเวทีวิเคราะห์ ปัญหา การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถามแบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา การวิจัย พบว่า รูปแบบการแก้ไขปัญหาหมอกควันโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน มี 2 รูปแบบคือ รูปแบบการแก้ไขปัญหาหมอกควันโดยกลไกภาคประชาชน และรูปแบบการแก้ไขปัญหา หมอกควันโดยกลไกภาครัฐ การส่งเสริมการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันโดยการรณรงค์ผ่านสื่อ การจัดทาแนว กันไฟ การปลูกป่าตามโครงการพระราชดาริ และการสร้างศักยภาพแกนนาโดยการอบรมเยาวชนแกนนาใน พื้นที่อย่างสม่าเสมอ การวิจัยนี้มีข้อค้นพบว่า การเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เทศบาลตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ ประสบผลสาเร็จได้โดยใช้ทุนทางสังคมและ ทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิม บทบาทของแกนนาที่มีศักยภาพ การทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ การนา พระราชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในการทากิจกรรมในพื้นที่ การปลูกฝังจิตสานึกของชุมชน และมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่างสม่าเสมอ ทาให้กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหา หมอกควันในพื้นที่เกิดความยั่งยืน
เอกสารงานวิจัย
  1. ปก
  2. กิตติกรรมประกาศ
  3. บทคัดย่อ
  4. สารบัญ
  5. สารบัญภาพ
  6. บทที่ 1
  7. บทที่ 2
  8. บทที่ 3
  9. บทที่ 4
  10. บทที่ 5
  11. บรรณานุกรม
  12. แนวคำถาม

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ