ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง การบริหารจัดการขยะอินทรีย์เพื่อผลิตวัสดุบำรุงดิน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในพื้นที่เทศบาล ต.หนองแก อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู
Solid waste management of Sumransuk Village, Nong Kae Municipality,Nong Bua Lumphu

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : นางมณีรัตน์ สุตันตังใจ
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลต าบลหนองแก 2.เพื่อศึกษาถึงระดับความต้องการ ส ารวจการใช้วัสดุบ ารุงดินเพื่อเกษตรกรชุมชนบ้านส าราญสุข 3.เพื่อพัฒนารูปแบบระบบการเปลี่ยนขยะอินทรีย์เป็นวัสดุปรับปรุงดินเพื่อการเกษตรโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชนบ้านส าราญสุข
คำสำคัญ
ขยะหรือมูลฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และ หมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรายจากชุมชนหรือครัวเรือน ,ขยะย่อยสลำย หรือ มูลฝอยย่อยสลำย คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถน ามา หมักท าปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ ,วัสดุบ ำรุงดิน หมายถึง ปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จาการย่อยสลายของขยะมูลฝอย หรือจากสัตว์ที่ช่วยใน การย่อยขยะอินทรีย์ทีเกิดขึ้น,ธำตุอำหำรในดิน หมายถึง เป็นธาตุอาหารหลักของพืชหรือสูตรปุ๋ยเคมีที่น ามาผสมเอง ซึ่ง ประกอบไปด้วยสารอาหารต่างๆ ที่ท าให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดี โดย NPK เป็นการน าธาตุอาหารที่ ส าคัญส าหรับพืช 3 ชนิด มารวมกันให้ได้น้ าหนัก 100 กิโลกรัม ซึ่งเป็นสูตรปุ๋ยที่พืชจะสามารถเจริญเติบโต ได้ดี ,ประชำชน หมายถึง ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านส าราญสุข เทศบาลต าบลหนองแก อ าเภอ ศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
บทคัดย่อย
การศึกษาศักยภาพชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์เพื่อผลิตวัสดุบ ารุงดิน บ้านส าราญสุข เทศบาลต าบล หนองแก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษารูปแบบรูปแบบและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ของชุมชน และศึกษาถึงความสนใจในการ เปลี่ยนขยะอินทรีย์เป็นวัสดุปรับปรุงดิน ประชากรที่ใช้ใน การศึกษา ได้แก่ชุมชนส าราญสุข โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจอะจง (Purposive sampling) จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามปลายปิด และปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลค าถาม ปลายปิดโดย การใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS เพื่อแจกแจง ความถี่ และร้อยละ ข้อมูลที่ได้จากค าถาม ปลายเปิดใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อจัดหมวดหมู่ความคิดเห็น ผลการวิจัยพบว่า แหล่งที่ก่อให้เกิดขยะมากที่สุดในชุมชนคือจากการท าการเกษตรกว่าร้อยละ 67 ขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นขยะอินทรีย์กว่าร้อยละ 67 ชุมชนมีการคัดแยกขยะรีไซเคิลไปขายร้อยละ 50 ชุมชนมีการใช้หลัก 5Rs ในการก าจัดขยะ ร้อยละ 66.67 ชุมชนมีการน าขยะมาสร้างรายได้ในครัวเรือน ร้อยละ 46.67 และ ชุมชนกว่าร้อยละ ร้อยละ 63.33 ระบุว่าผลิตขยะน้อยกว่า 1 กิโลกรัม/วัน ในด้านความต้องการในการใช้ ปุ๋ยชุมชนรู้จักการท าปุ๋ยชีวภาพใช้เอง แต่ยังขาดความรู้ในการใช้ไส้เดือนหรือหนอนแมลงวันลายในการ ย่อยสลายขยะอินทรีย์ ประชาชนส่วนมากมีความต้องการที่จะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อมาย่อยสลายขยะอินทรีย์ ในบ้านของตนเอง
เอกสารงานวิจัย
  1. ปก
  2. กิตติกรรมประกาศ
  3. บทคัดย่อ
  4. บทที่1
  5. บทที่2
  6. บทที่3
  7. บทที่4
  8. บทที่5
  9. บรรรานุกรม
  10. ภาคผนวก

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ