ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกรณีศึกษา เทศบาลตำบลบ้านค้อ อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
Participatory action research to development of a mechanism to promote the learning of children and youth Information Technology side : A case study at municipality of Ban Kho, Non Sang, Nong Bua Lamphu Province

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : อาจารย์นันทพร กงภูเวช
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและ เยาวชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อสร้างกลไกการขับเคลอื่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory action research : PAR) 3. เพื่อน้ากลไกไปสู่การปฏิบัติและประเมินผลกลไกการขบัเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของ เด็กและเยาวชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ
1. กำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำร หมายถึง กระบวนการการศึกษาหาความรูจากสภาพแวดลอมและ ปรากฏการณ์ธรรมชาติของสังคมเพื่อค้นหาปัญหาและวิธีด้าเนินการแกไข ,2. กำรมีส่วนร่วม หมายถึง การที่สมาชิกของชุมชนในพื นที่เทศบาลต้าบลบ้านค้อ อ.โนนสัง จ.หนองบัวล้าภูและชุมชนใกลเคียงใหความร่วมมือ รวมใจกันวางแผน ปฏิบัติตามแผน รวม ประเมินผล รวมกันรับประโยชน์ และรับผิดชอบตอผลกระทบที่เกิดขึ นจากการพัฒนา ,3. กลไกกำรขับเคลื่อน หมายถึง สิ่งที่ท้าให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรือด้าเนินอยู่ได้ โดยมี การจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ด้าเนินงาน ดังนั น กลไกการ ขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนในชุมชน กล่าวได้คือ ระบบการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาเด็ก และเยาวชนในชุมชนที่สามารถด้าเนินการอยู่ได้ โดยการจัดสรรทรัพยากรต่างๆภายในชุมชนของ ตนเอง และมีกลุ่มคนที่แน่ชัดในการด้าเนินงาน โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ อันประกอบ ดวย 4 ขั นตอน คือส้ารวจขอมูลเพื่อวางแผน การปฏิบัติตามแผน สังเกตผลที่เกิดขึ นจากการปฏิบัติ และน้าผลสะทอนหลังจากการปฏิบัติ มาสูการวิพากษวิจารณ แล้วปรับแผนเพื่อปฏิบัติตอไป ,4. เด็กและเยำวชน หมายถึง “เด็ก” บุคคลอายุยังไม่เกินสิบห้าปีบริบูรณ์ “เยาวชน” บุคคลอายุเกินสิบห้าปีบริบูรณ์แต่ยังไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ เด็กและเยาวชน หมายความว่า บุคคลที่ มีอายุตั งแต่แรกเกิดจนถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ ที่เป็นสมาชิกของชุมชนในพื นที่เทศบาลต้าบลบ้านค้อ อ. โนนสัง จ.หนองบัวล้าภูและชุมชนใกลเคียงอยู่ในพื นที่ ,5. เทคโนโลยีสำรสนเทศ หมายถึง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ท้าให้เกิดวิธีการใหม่ ๆ ในการจัดเก็บข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ การส่งผ่าน การสื่อสารสารสนเทศ การเข้าถึงสารสนเทศ การรับ สารสนเทศ รวมถึงการสร้างสังคมและอุตสาหกรรมด้านสารสนเทศ และการจัดการสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพ
บทคัดย่อย
โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory action research : PAR) : กรณศีกึษา เทศบาลตา บลบา้นคอ้ อ.โนนสัง จ.หนองบัวล าภู มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ 2) สร้างกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory action research : PAR) 3) น ากลไกไปสู่การปฏิบัติและประเมินผลกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก และเยาวชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประชาการที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้น าองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นกับแกนน าชุมชน นักพัฒนาที่มีภารกิจในในชุมชน ผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยคัดเลือกเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) รวมจ านวนทั้งสิ้น 50 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ด้วยแบบสอบถาม แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพทั่วไปของชุมชนในพื้นที่เทศบาลต าบลบ้านค้อ อ.โนนสัง จ.หนองบัวล าภู ที่มีผลกระทบจากการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่งผลเด็กใช้เวลากับ อุปกรณ์เน็ตเวิร์กที่มีมากเกินความจ าเป็น มีการเลียนแบบพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม การขาดความรู้ ในการรับชมสื่อและใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์ ปัจจัยด้านศักยภาพและทุนทางสังคม พบว่า เทศบาลต าบลบ้านค้อ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และแผนการจัดการองค์กรเพื่อการศึกษาของเด็กและ เยาวชนเชิงสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วม มีคณะท างานรับผิดชอบการบริหารจัดการองค์กรเพื่อการศึกษา ของเด็กและเยาวชนที่ประกอบด้วย แกนน าในองค์กรและแกนน าจากภาคีองค์กรที่เกี่ยวข้อง มีกลไก การสื่อสารข้อมูลการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ที่เป็นระบบทันต่อการเปลี่ยนแปลง แต่ยังไม่มี บทบาทเชิงรุกเพื่อรวมกลุ่มเด็กและเยาวชนของแต่ละหมู่บ้านให้มารวมกลุ่มเพื่อคิดและด าเนิน กิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้เจาะเป้าหมายเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อเสริมสร้างพลังในชุมชนและการพัฒนาแบบบูรณาการเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งของ ครอบครัวควบคู่ไปกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน 2. การสร้างกลไกการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยประยุกต์ใช้ตามโครงร่างพื้นฐาน 7S ของแมคคินซีย์ (McKinsey) 7 ตัว ได้แก่ โครงสร้าง (Structure) กลยุทธ์ (Strategy) ระบบ (System) บุคลากร (Staff) แบบการบริหาร (Style) ทักษะ (Skill) และค่านิยมร่วม (Shared values) เพื่อก าหนดรูปแบบการพัฒนาเด็กและเยาวชนโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ด้วยกระบวนการ PAOR ซึ่งเปนการวิจัยที่สะทอนผลการปฏิบัติงานเป็นวงจรขดลวด 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นวางแผน (Plan) ค้นหาแนวทางการจัดท าแผนพัฒนาเด็กและเยาวชน 2) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Action) การจัดท าคู่มือส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) ขั้นสังเกตการณ Observe) กระบวนการปฏิบัติการ การด าเนินงานและวิธีการบูรณาการกับ หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ 4) ขั้นสะทอนผล (Reflection) ติดตามกระบวนการ ปัญหาหรืออุปสรรคต อการปฏิบัติการ โดยมีนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการบูรณาการสู่การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ คู่มือ “อ่าน คิด รู้เท่าทัน ICT” กิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ บูรณาการสร้างการเรียนรู้ได้ทั้งในและนอกโรงเรียน
เอกสารงานวิจัย
  1. ปก
  2. ปกใน
  3. บทที่1
  4. บทที่2
  5. บทที่2.1
  6. บทที่3
  7. บทที่4
  8. บทที่5
  9. บรรณานุกรม
  10. ประวัติผู้วิจัย
  11. แบบสอบถาม
  12. แบบสำรวจ
  13. แบบสำรวจ

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ