ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์สำหรับครัวเรือน เทศบาล ต.โนนสะอาด
Bio-gas production potential from organic waste for household consumption of Na-Udom Village, Non Saaart Municipality, Nong Bua Lumphu

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : นางมณีรัตน์ สุตันตังใจ
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อจัดการชุดผลิตแก๊สชีวภาพด้วยถังพลาสติกเพื่อใช้ส าหรับครัวเรือน 1.2.2 เพื่อจัดการปัญหาขยะอินทรีย์ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สชีวภาพใช้ส าหรับครัวเรือน 1.2.3 เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการขยะ ในพื้นที่ชุมชนบ้านนาอุดม เทศบาลต าบลโนนสะอาด อ าเภอ ศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
คำสำคัญ
มีเทน เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมี คือ CH4 เป็นแก๊สไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทนอาจได้มาจากการหมักมูลสัตว์และน ามาใช้เป็น เชื้อเพลิงราคาถูก,ไฮโดรเจนซัลไฟด์ หรือ ก๊ำซไข่เน่ำ เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีเป็น H2S ไม่มีสี, เป็นพิษ และ เป็นแก๊สไวไฟ มีกลิ่นเน่าเหม็นคล้ายไข่เน่า บ่อยครั้งเป็นผลจากแบคทีเรียย่อยสลายซัลไฟด์ในสารอนินทรีย์ ในสภาวะขาดออกซิเจน เช่นใน หนองน้ าและท่อระบายน้ า (การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน) ,คำร์บอน เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ C คาร์บอนปรากฏในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และเป็น พื้นฐานของอินทรีย์เคมี นอกจากนี้ อโลหะนี้มีคุณสมบัติทางเคมีที่น่าสนใจ คือ สามารถท าพันธะกับตัวเอง และธาตุอื่นๆ เป็นจ านวนมาก เกิดได้เป็นสารประกอบเกือบ 10 ล้านชนิด เมื่อรวมกับออกซิเจน จะเกิด เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจ าเป็นอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตของพืช เมื่อรวมกับไฮโดรเจน จะเกิดเป็น สารประกอบต่างๆ ที่เรียกรวมๆ ว่าไฮโดรคาร์บอน ซึ่งจ าเป็นต่ออุตสาหกรรมในรูปแบบของเชื้อเพลิง ฟอสซิล,ออกซิเจน ธาตุล าดับที่ 8 สัญลักษณ์ O เป็นแก๊ส มีปนอยู่ในอากาศประมาณร้อยละ 20 โดย ปริมาตร ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่ติดไฟ แต่ช่วยให้ไฟติด มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการหายใจและการเผา ไหม้เป็นต้นใช้จุดกับแก๊สอะเซทิลีน เพื่อเชื่อมหรือตัดโลหะ ในทางแพทย์ใช้ช่วยการหายใจของคนไข้ ,ขยะ หมายถึง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้ หรือไม่ต้องการใช้แล้ว บางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย (Solid Waste) มีผลเสียต่อสุขภาพทางกาย และจิตใจเนื่องจากความสกปรก เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคท าให้เกิดมลพิษและทัศนะอุจาด ,มูลฝอย หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่ อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่นๆ ,ขยะเปียก เป็นขยะย่อยสลายง่าย มีความชื้น มีกลิ่น และเน่าเสียได้ง่าย ส่วนใหญ่จึงมักเป็นขยะที่ พบได้ในห้องครัว เช่น เศษเหลืออาหาร เปลือกผลไม้ คุณควรทิ้งขยะเปียกใส่ถังเฉพาะ และน าไปทิ้งนอก บ้านทุกวัน หรือจะลองเอาหมักเป็นปุ๋ยธรรมชาติก็ได้ ,มูลสัตว์ เกิดจากสัตว์ที่บริโภคอาหารเข้าไปแล้วขับถ่ายออกมาเป็นกากของเสีย เช่น สุกร วัว ควาย เป็ด ไก่ ฯลฯ ,กำรย่อยสลำยในสภำวะไร้ออกซิเจน คือ การย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะไร้ออกซิเจนเป็น กระบวนการเปลี่ยนสารอินทรีย์เป็นก๊าซชีวภาพ ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน ,ข้อมูลเชิงคุณภำพ หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถบอกได้ว่า มีค่ามากหรือน้อย แต่จะสามารถบอก ได้ว่าดีหรือไม่ดี หรือบอกลักษณะความเป็นกลุ่มของ ข้อมูล เช่น เพศ ศาสนา สีผม คุณภาพสินค้า ความ พึงพอใจ ,ประชำกรกลุ่มเป้ำหมำย หมายถึง ประชากรที่มีทะเบียนบ้านและอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เทศบาล ต าบลโนนสะอาด อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
บทคัดย่อย
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ส าหรับครัวเรือน บ้านนาอุดม เทศบาล ต าบลโนนสะอาด มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาศักยภาพในการผลิตแก๊สชีวภาพจากขยะอินทรีย์ และ เพื่อพัฒนาระบบการท าแก๊สชีวภาพจากขยะอินทรีย์ส าหรับครัวเรือน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ชุมชนอุดมสุข โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจอะจง (Purposive sampling) จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามปลายเปิด และชุดทดลองการท าแก๊สชีวภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดย การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อจัดหมวดหมู่ความคิดเห็น และการวิเคราะห์ระบบแบบ Flow Chart สิ่งน าเข้า กระบวนการ และผลผลิต ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในการท า แก๊สชีวภาพเนื่องจากเหตุของราคาและความจ าเป็นในการชุมชนยังขาดความรู้เชิงวิชาการในการ ประกอบชุดทดลอง แต่สามารถเรียนรู้ได้ภายในระยะเวลาอันสั้น ชุดการทดลองในถังหมักขนาด 200 ลิตรและถังเก็บแก๊ส 120 ลิตร สามารถผลิตแก๊สเพื่อการหุงต้มได้ ประมาณ 20-25 นาที มีข้อเสนอแนะ ว่า หากต้องการเพิ่มปริมาณแก๊ส สามารถเพิ่มชุดการเก็บแก๊ส เพื่อให้สามารถใช้แก๊สในการหุงต้มได้มาก ขึ้น
เอกสารงานวิจัย
  1. ปก
  2. กิตติกรรมประกาศ
  3. บทคัดย่อ
  4. บทที่1
  5. บทที่2
  6. บทที่3
  7. บทที่4
  8. บทที่5
  9. บรรณานุกรม
  10. ภาคผนวก

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ