ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง การจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้เตาเผาขยะอย่างง่ายในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
Solid waste management using simple incinerators in the Subdistrict Administrative Area. Non Than, Mueang District, Nong Bua Lamphu Province

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารยสุธาสินี ครุฑธกะ
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการในการจัดการและคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิลของชุมชนบKานโนนทัน ในเขตองค]การบริหารส8วนตำบลโนนทัน อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู 2. เพื่อหาแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในการคัดแยกขยะชุมชนบ้านโนนทัน ในเขตองค์การ บริหารส่วนตำบลโนนทัน อำเภอเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู
คำสำคัญ
การสรKางมูลค8าเพิ่ม (Value added) หมายถึง การใชKความไดKเปรียบค8าใชKจ8ายดKานแรงงาน เพื่อเพิ่มมูลค8าใหKกับผลิตภัณฑ] การสรKางความพึงพอใจแก8ลูกคKาเปUนสิ่งที่จำเปUนแต8การสรKาง มูลค8าเพิ่ม ที่มากกว8าคู8แข8งขัน จะทำใหKลูกคKาพึงพอใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งการสรKางมูลค8าเพิ่มอาจทำไดKดKวยการเสนอ ผลประโยชน]ที่ลูกคKาตKองการ รับประกันที่ดีกว8า สรKางความสะดวกสบาย สรKางความรูKสึกที่ดีบริการ ที่รวดเร็วทันใจมากกว8า ดีกว8า ,ผูKประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง เจKาของกิจการ ซึ่งเปUนผูKริเริ่มสรKางธุรกิจมีการ บริหารจัดการธุรกิจของตนเอง ,ธุรกิจรับซื้อของเก8า หมายถึง กิจการหรืออาชีพที่มีการรวบรวม รับซื้อจัดการ และจำหน8าย ซึ่งวัสดุเหลือใชKในที่นี้ ไดKแก8รKานรับซื้อของเก8าและผูKประกอบอาชีพเก็บและรับซื้อของเก8า ,รKานรับซื้อของเก8า หมายถึง รKานคKาที่รับซื้อขยะมีค8า หรือวัสดุเหลือใชKประเภทต8างๆต8อจาก ผูKที่มีรายไดKจากเก็บขยะขาย ไดKแก8 รKานรับซื้อของเก8าที่จดทะเบียนการคKา รKานรับซื้อของเก8าที่ไม8ไดKจด ทะเบียนการคKา ,การคัดแยกขยะเพื่อรีไซเคิล หมายถึง การคัดแยกขยะที่สามารถนำกลับมาใชKใหม8ไดK โดยนำไปผ8านกระบวนการแปรรูปในระบบอุตสาหกรรม ซึ่งอยู8ปะปนกับขยะมูลฝอยที่เราสรKางขึ้น สามารถแบ8งประเภทไดKเปUน กระดาษ แกKว พลาสติก โลหะ และอโลหะ ซึ่งเราสามารถคัดแยก และนำ กลับมาใชKไดKอีกครั้งหนึ่ง โดยขยะแต8ละประเภทสามารถแยกย8อยไดKมากมาย
บทคัดย่อย
การศึกษาเรื่อง “การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนต าบล กุดสะเทียนอ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของ ประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านนาทม อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู และเพื่อ เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน บ้านนาทม ต าบลกุดสะเทียน อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู จ าแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ต่อเดือน และ ระยะเวลาอาศัยอยู่ในต าบล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือประชาชนที่เป็น หัวหน้าครัวเรือนในชุมชน บ้านนาทม อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู จ านวน 285 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบ สมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test และใช้สถิติ Oneway ANOVA หากพบว่ามีความแตกต่างจะท าการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least significant difference test) ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นเรื่องสิ่งแวดล้อมด้วยคนในชุมชนเอง อยู่ในระดับน้อย (¯x = 2.49, S.D. = 0.501) มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.54,S.D. = 0.752) ประชาชนมีส่วนร่วมในการก าจัดขยะในชุมชน อยู่ในระดับมาก (¯x = 2.95,S.D. = 0.687) ได้เรียนรู้ กระบวนการท างานที่เป็นระบบเป็นขั้นตอน อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.54,S.D. = 0.752) สามารถน าเอา วัสดุเหลือใช้กลับมาท าเป็นของใช้ใหม่ได้ อยู่ในระดับมาก (¯x = 3.02,S.D. = 0.689) ช่วยฝึกนิสัยการออม ทรัพย์ของประชาชนได้ อยู่ในระดับมาก (¯x = 2.98,S.D. = 0.608) สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการคัด แยกขยะร่วมกัน อยู่ในระดับมาก (¯x = 3.02,S.D. = 0.608) บุตรหลานได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และ เห็นคุณค่าของเศษวัสดุเหลือใช้ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.54,S.D. = 0.752) มีทักษะในการประกอบอาชีพ คัดแยกขยะ (รับซื้อของเก่า) ได้ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.30,S.D. = 0.817) ลดปริมาณขยะท าให้ชุมชน สะอาด น่าอยู่ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.46,S.D. = 0.775) ผลก าไรจากธนาคารสามารถน าไปจัดตั้ง กองทุนหรือสนับสนุนกิจกรรมอื่นๆของชุมชนได้ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.56,S.D. = 0.727) เกิดศูนย์การ เรียนรู้ของชุมชนด้านการก าจัดขยะมูลฝอย อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.30,S.D. = 0.817) เป็นตัวอย่าง ให้แก่ชุมชนอื่นในการคัดแยกขยะมูลฝอย อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 3.46,S.D. = 0.775) ผลการทดสอบสมมติฐาน จ าแนกตาม ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ประชาชนที่มีเพศ ต่างกัน มีส่วนร่วมต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านนาทม ไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ส่วนประชาชนที่มี อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาอาศัยอยู่ในต าบล ต่างกัน มีส่วน ร่วมต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนบ้านนาทม แตกต่างกัน อย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัย
เอกสารงานวิจัย
  1. วิจัย

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ