ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง รูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
Health management styles seniors community cooperative with local administrative organization and the parties to the network. TAT tabon nanoi nan Province.

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : อาจารย์กนกวรรณ เกิดพิน
ผู้ร่วมวิจัย :
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อศึกษาสภาพ ศักยภาพในการจัดการสุขภาวะผู้สูงอายุ 4.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนต้าบลน้ำตก อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
คำสำคัญ
สุขภาวะ
บทคัดย่อย
ศูนย์สุขภาวะ ตามค้านิยามตาม ทันตแพทย์กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ อนุกรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการอ้านวยการโครงการศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ผู้จัดการส้านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวว่า "ที่แห่งนี จะเป็นศูนย์กลางของคนรักสุขภาพ เป็นต้นแบบของบุคคล องค์กร ชุมชน ที่ต้องการเห็นความเปลี่ยนแปลงในสังคมและลุกขึ นมาสร้างความเปลี่ยนแปลงนั น เริ่มต้นจากการสร้างแรงบันดาลใจ เริ่มจากความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงสังคม มองเห็นว่าความสุขเริ่มจากคนและวิธีคิดของคน ไม่ใช่รอผู้ใดน้ามาให้" (ออนไลน์) ดังจะกล่าวได้ว่าศูนย์สุขภาวะเป็นทั งแหล่งการเรียนรู้และการถ่ายทอดความรู้ จึงเป็นสถานที่ส้าคัญในการเป็นแหล่งสร้างคุณค่าให้กับผู้สูงอายุ ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุและถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุ และประสบการณ์ของผู้สูงอายุอย่างเข้มแข็ง จากการส้ารวจข้อมูลเบื องต้นขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้าตก อ้าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน พบว่า บริบทการจัดการสุขภาวะของผู้สูงวัยของในพื นมีทั งความโดดเด่นและแตกต่างซ่อนอยู่ในพื นที่ ทั งการบริหารจัดการของพื นที่ ตั งแต่การมีเป้าหมายในการพัฒนา การบริหารทรัพยากร การประสานงานเครือข่าย และการแบ่งงานตามบทบาทโครงสร้างของการจัดการสุขภาวะของผู้สูงวัยตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งยกระดับสุขภาวะของผู้สูงวัย การขับเคลื่อนการท้างานในพื นที่จึงยังขาดแนวทางการจัดการในการที่เป็นมุ่งจัดการในพื นที่ร่วมกันของภาคีเครือข่าย ขาดการบริหารทรัพยากรที่ท้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ขาดการประสานงานเครือข่ายและการแบ่งงานตามบทบาทตามโครงสร้าง ซึ่งทั งนี เป็นไปตามปัจจัยภายในและภายนอกในการสนับสนุนการขับเคลื่อนของงานสุขภาวะผู้สูงวัย ทั งบริบทพื นที่ ศักยภาพของชุมชน การจัดการด้านความรู้ การจัดการองค์กร ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมไปถึงการจัดตั งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มพัฒนาอาชีพของผู้สูงวัยของแต่ละพื นที่ จากความแตกต่างนี เป็นผลสะท้อนให้เห็นช่องว่างในกระบวนการขับเคลื่อนกลไกในการท้างาน และรูปแบบในการจัดการด้านสุขภาวะขาดหายไป จึงท้าให้การด้าเนินงานของด้านสุขภาวะของผู้สูงวัยในพื นที่ยังไม่เข้มแข็งและประสบผลในการด้าเนินงาน ดังนั นคณะผู้วิจัยจึงสนใจจะศึกษางานวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนต้าบลน้าตก อ้าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เพื่อจะน้าไปสู่การจัดการของศูนย์สุขภาวะของผู้สูงอายุที่เข้มแข็งและเป็นต้นแบบที่ยั่งยืนในอนาคตต่อไป
เอกสารงานวิจัย
  1. รูปแบบการจัดการสุขภาวะผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนกับองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนต้าบลน้าตก อ้าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
  2. รายงานฉบับสมบูรณ์
  3. ปก
  4. สารบัญ
  5. สารบัญภาพ
  6. บทคัดย่อ
  7. กิตติกรรมประกาศ

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ