ข้อมูลงานวิจัย รายงานข้อมูล

งานวิจัยรื่อง รงการย่อยที่ 3 แนวทางการเสริมพลังเยาวชนต้นแบบ “ลดเหล้า” เทศบาลตาบลเฝ้าไร่ อาเภอเฝ้าไร่ จังหวัดหนองคาย
รงการย่อยที่ 3 แนวทางการเสริมพลังเยาวชนต้นแบบ “ลดเหล้า” เทศบาลตาบลเฝ้าไร่ อาเภอเฝ้าไร่ จังหวัดหนองคาย

นักวิจัย
หัวหน้าโครงการ : ว่าที่ ร.ต.ณัฐพล วงษ์รัมย์
ผู้ร่วมวิจัย : อาจารย์บัญชา นวนสาย นายโชคชัย วิเศษศรี
ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ :
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างแนวทางการเสริมพลังเยาวชนต้นแบบในการ “ลด เหล้า” เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และเพื่อขยายเครือข่ายเยาวชนต้นแบบ “บัก แงวหวาน” ในการสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชน เทศบาลตาบลเฝ้าไร่
คำสำคัญ
เยาวชนต้นแบบ, การลดเหล้า
บทคัดย่อย
บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแนวทางการเสริมพลังเยาวชนต้นแบบในการ “ลด เหล้า” เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และเพื่อขยายเครือข่ายเยาวชนต้นแบบ “บัก แงวหวาน” ในการสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชน เทศบาลตาบลเฝ้าไร่ โดยการสร้างแนวทางการเสริม พลังเยาวชนต้นแบบในการ “ลดเหล้า” เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนมีผู้นาหรือแกนนาเยาวชนเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรม โดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานจุดเริ่มต้นขับเคลื่อนผ่านกลุ่มผู้นาเยาวชนแล้ว จะทาให้กลุ่มเยาวชนมีความเข้มแข็ง และถ้ากลุ่มเยาวชนได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ โดยมีหัวหน้าฝ่ายงานอนามัยและสาธารณสุข ของเทศบาลตาบลเผ้าไร่เป็นผู้หนุนเสริม และมีนโยบายจากผู้นาในพื้นที่ ที่ชัดเจน ประสานงาน ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐเช่นตารวจ(ครู DARE)ให้ความรู้และติดตามเฝ้าระวังเกี่ยวกับยาเสพติด และ แอลกอฮอล์ ซึ่งการดาเนินงานของเฝ้าไร่สอดคล้องกับการออกพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 เพื่อบังคับใช้ กาหนดโทษจากการดื่มสุราและควบคุมการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ซึ่ง จึงเป็นอีกรูปแบบในการสร้างความตระหนัก เข้าใจปัญหาที่มีสาเหตุมาจาก แอลกอฮอล์ เพื่อที่จะลดปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แล้วจะส่งผลให้ชุมชนลดปัญหาการ ขยายตัวของกลุ่มนักดื่มหน้าใหม่ นักดื่มกลุ่มเสี่ยงในการบริโภคแอลกอฮอล์ ซึ่งส่งผลให้มีการขยาย กลุ่มเยาวชนบักแงวหวานเพิ่มขึ้น จานวน 170 คน จาก 17 หมู่บ้าน โดยนวัตกรรมเพื่อการลดเหล้า แอลกอฮอร์ ในตาบลเฝ้าไร่ที่พบ ได้แก่ 1) เยาวชนต้นแบบ ปลอดเหล้า 2) ด่านครอบครัว ด่านชุมชน 3) วัดปลอดเหล้า 4) งานศพและงานบุญปลอดเหล้า 5) ตลาดปลอดเหล้า ซึ่งเกิดจากการมีส่วนร่วมที่จะทาให้เหล้าหมดหรือลดลงไปจากชุมชน โดยมีแนวคิด เริ่มต้นปลูกฝังจากเยาวชน และให้เยาวชนเป็นต้นแบบในการดาเนินกิจกรรมไปสู่วัยอื่นๆ ในชุมชน เพื่อเป็นชุมชนปลอดเหล้าอย่างยั่งยืน
เอกสารงานวิจัย
  1. แนวทางการเสริมพลังเยาวชนต้นแบบ “ลดเหล้า” เทศบาลตาบลเฝ้าไร่ อาเภอเฝ้าไร่ จังหวัดหนองคาย
  2. แบบสรุปโครงการวิจัย เหล้า

ผลการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

Notes

ข้อมูลจากระบบ LRD : Local Research Development System.

ย้อนกลับ